17 Các câu trả lời
กรณีที่ 1 ไปจดทะเบียนรับรองบุตร (การที่บิดาไปแจ้งเกิดมีชื่อเป็นพ่อในใบเกิด อันนั้นไม่ใช่การจดทะเบียนรับรองบุตร) การจดทะเบียนรับรองบุตร จะต้องไปจดทะเบียนที่อำเภอ โดยความยินยอมของแม่ และลูก แต่ถ้าลูกยังเล็กเกินจะตัดสินใจได้ ศาลจะเป็นคนตัดสิน โดยดูว่าลูกจะได้รับประโยชน์สูงสุดหรือเปล่าค่ะ กรณีที่ 2 พ่อแม่สมรสกันในภายหลัง เช่น ลูกเกิดมาก่อนแล้วค่อยก็ไปจดทะเบียนสมรสกัน แบบนี้พ่อจะมีสิทธิเลี้ยงดูลูก กรณีที่ 3 เมื่อมีคำพิพากษาของศาลในทำนองที่ให้มีสิทธิเลี้ยงดูลูก ซึ่งพ่อก็อาจจะไปฟ้องศาลเพื่อขอให้ตนมีสิทธิเลี้ยงดูบุตรได้
ถ้าไม่ได้จดทะเบียสมรสสิทธิเป็นของแม่แต่เพียงผู้เดียวค่ะ แต่ถ้าพ่อน้องรับรองบุตรรู้สึกว่าสิทธิจะครึ่งๆนะคะ(รับรองบุตรไม่ใช่ชื่อในใบเกิด) แนะนำให้แม่ฟ้องเลยค่ะเชื่อว่าแม่ฟ้องชนะ
ถ้าพ่อฟ้องให้รับรองบุตรมีโอกาสชนะค่ะถ้าฐานะพ่อดีแต่ไม่ใช่ว่าจะกีดกันแม่ลูกได้นะคะ แต่ส่วนมากโอกาสที่พ่อจะได้น้องไปมีน้อยมากๆรอให้เค้าฟ้องมาก่อนค่อยสู้กันในชั้นศาลค่ะ
ไม่ได้จดทะเบียน พ่อไม่มีสิทธิค่ะ. แม่มีสิทธิในตัวลูกเพียงผู้เดียว. เคยเจอญาติแฟนเก่าพูดแบบนี้เหมือนกันค่ะ เลยบอกว่าไปฟ้องเอาเลย. ไม่มีสิทธิอยู่แล้วเพราะไม่ได้จดทะเบียน.
สิทธิอยู่ที่แม่แต่เพียงคนเดียวค่ะกฎหมายให้สิทธิคุณแม่อุ้มท้อง9เดือนค่ะ แนะน้ำให้ปรึกษาทนายฟรี สู้ๆนะค่ะแม่
สบายใจได้เลย ถ้าไม่จดทะเบียนสมรส หรือรับรองบุตร แม่มีสิทธิ์ในตัวลูกแต่เพียงผู้เดียวค่ะ
ต้องเป็นคุณพ่อแล้วมั้งคะที่ต้องฟ้อง555ยังไงสิทธก็อยู่ที่แม่ค่ะไม่ได้จดทะเบียน
Promo terbesar expert care sudah dimulai, diskon hingga Rp.100.000 sedang berlangsung di shopee, ada juga voucher diskon 100% alias gratis bagi bunda yang beruntung. Buruan cek di https://shope.ee/9UfEMMqqTg (id-4005085)
มีค่ะ แต่ถ้าแม่มีหน้าที่การงานมั่นคงกว่า อาจจะสู้ได้นะคะ เป็นกำลังใจให้นะคะ
แม่มีสิทธิ์แค่เพียงผู้เดียวค่ะถ้าไม่ได้จดทะเบียนสมรส เป็นกำลังใจให้นะคะ